จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด(Apperception)

- (www.oknation.net : 14/06/2554)
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า  การเรียนรู้เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม(neutral - passive)  การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 (sensation)  และความรู้สึก(feeling) คือ การตีความหรือแปลความหมายจากการสัมผัสการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึง เน้นให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5  และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้เป็นอย่างดี
- (images.ranunanetc3.multiply.multiplycontent.com : 24/06/2554)
(Apperception หรือ Herbartianism) นักคิดกลุ่มนี้ คือ จอห์น ล็อค ทิชเชเนอร์ และแอร์บาร์ต ซึ่งความเชื่อของนักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนร้ นั้น มนุษย์เกิดมาไม่มีทั้งความดีความเลวในตัวเอง การเรียนร้เกิดได้จากแรงกระต้นภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม (neutral-passive)  มนุษย์เราเกิดมาพร้อมกับจิตหรือสมองที่ว่างเปล่า การเรียนร้เกิดจากการที่บุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 การส่งเสริมให้บุคคลมีประสบการณ์มาก ๆ ในหลาย ๆ ทาง จึงเป็นการช่วยให้บุคคลเกิดการเรียนร้ได้ดี
- (www.wijai48.com : 24/06/2554)
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด(Apperception)  นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า  การเรียนรู้เกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกหรือสิ่งแวดล้อม(neutral - passive)  การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 (sensation)  และความรู้สึก(feeling) คือ การตีความหรือแปลความหมายจากการสัมผัส  การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงเน้นให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสทั้ง 5  และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้เป็นอย่างดี
 สรุป นักคิดในกลุ่มนี้เห็นว่ามนุษย์เกิดมาไม่มีทั้งดีและเลว การกระทำต่างๆเกิดจากแรงกระตุ้นภายนอกคือสิ่งแวดล้อมและเรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษย์

ที่มา
http://www.oknation.net/ : เข้าถึงเมื่อ 14/06/2554
http://images.ranunanetc3.multiply.multiplycontent.com/ : เข้าถึงเมื่อ 24/06/2554
http://www.wijai48.com/ : เข้าถึงเมื่อ 24/06/2554

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น